Drivers of MEDCMU Engagement Survey 2024
Puttimate Chumta2024-10-15T14:10:31+07:00แบบสำรวจปัจจัยขับเคลื่อนความผูกพันของบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2567 (Drivers of MEDCMU Engagement Survey 2024) […]
แบบสำรวจปัจจัยขับเคลื่อนความผูกพันของบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2567 (Drivers of MEDCMU Engagement Survey 2024) […]
วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 ศูนย์บริหารกลยุทธ์ และพัฒนาบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มช. (ศูนย์มีดี MeDHRI) ดำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “Non-Technical Skills” ครั้งที่ 3 ประจำปี 2565 สำหรับอาจารย์ แพทย์ และสหสาขาวิชาชีพสุขภาพ และบุคลากรสังกัดคณะฯ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2565 ณ ห้องประชุม 1508 ชั้น 15 อาคารเฉลิมพระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มช. […]
แนวทางที่แนะนำนั้น ผู้บังคับบัญชาที่มีจำนวนคำตอบเพียงพอเพื่อสามารถดูข้อมูลความผูกพันได้ ซึ่งจะได้ข้อมูลสรุปทั้งแบ่งแยกตามสังกัด และ direct report หัวหน้าควรจะเผยแพร่ ผลการสำรวจความผูกพันให้กับทีม เพื่อหารือปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในที่ทำงาน หัวหน้ามีบทบาทหน้าที่ในการ Facilitate หรืออำนวยความสะดวกในการ เปิดประเด็นหารือระหว่างบุคลากรต่างๆในทีม ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องผลสำรวจความผูกพัน และแผนของทีมเพื่อที่จะพัฒนาต่อไป การหารือ พูดคุย หรือประชุมนี้นั้นสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะว่าแผนการปฏิบัติงานในระดับหน้างานอย่างแท้จริง หรือ local-level action planning strategy โดยมีลำดับขั้นตอน ดังนี้ 1.วิเคราะห์ผลสำรวจความผูกพัน 2.ระบุเป้าหมายผลการปฏิบัติงานของทีม 3.เลือกข้อหรือปัจจัยความผูกพันที่จะมุ่งเน้น และระบุแผนและแนวทางการปฏิบัติ รวมถึงเจ้าของเจ้าภาพที่จะดำเนินการต่อไป 4.ทบทวนและปรับปรุง ทุกคนควรจะมีส่วนร่วมในการประชุม/หารือ/บทสนทนา เกี่ยวกับความผูกพัน ทุกคนในทีมนั้นควรจะช่วยกันสร้าง action plan ขึ้นมา โดยในขณะเดียวกัน Engagement Champion และ หัวหน้าควรจะเป็น ผู้นำในการหารือเรื่องนี้ ซึ่งควรเป็นกระบวนการที่ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมให้ความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะได้ การให้บุคลากรมีส่วนร่วมในกระบวนการนั้นจะเป็นฐานให้แก่ การก้าวไปสู่การสร้างความผูกพัน เพราะเสียงของทุกคนสำคัญต่อองค์กร และร่วมกันตัดสินใจว่า ปัจจัยผูกพันไหนที่จะถูกลำดับความสำคัญก่อน เพื่อที่จะช่วยให้ทีม ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น รายละเอียดการอบรม ประกาศผลลัพธ์คะแนนความผูกพัน และกล่าวถึงที่มาและความสำคัญโครงการฯ โดย คณบดีคณะแพทยศาสตร์ ศ.(เชี่ยวชาญพิเศษ) นพ.บรรณกิจ โลจนาภิวัฒน์ บรรยายหัวข้อ “ENGAGEMENT ACTION PLAN” Engagement Talk เพราะเสียงของทุกคนสำคัญต่อองค์กรโดย รองคณบดีด้านทรัพยากรบุคคล รศ.พญ.สุรินทร์พร ลิขิตเสถียร บรรยายหัวข้อ “การใช้งาน ระบบรายงานความผูกพันของบุคลากรในรูปแบบ Interactive Dashboard” โดย ศูนย์บริหารกลยุทธ์และพัฒนาบุคลากร (Me:DHRI ศูนย์มีดี) [...]
วันที่ 27 มีนาคม 2565 ภาพ / ข่าว : กลุ่มงานสื่อสารองค์กร งานประชาสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผศ.นพ.นเรนทร์ โชติรสนิรมิต ผู้อำนวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เป็นประธานในพิธีเปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Excellent Service Behavior เป็นการดำเนินการตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ M modernized workforce […]
วันที่ 18 มีนาคม 2565 ภาพ / ข่าว : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นายวิฑูรย์ มหาวัน หัวหน้างานบริหารงานบุคคล เป็นประธานในพิธีเปิด โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้ระบบฐานข้อมูลบุคลากรนอกสังกัดคณะฯ […]
วันที่ 16 มีนาคม 2565 งานบริหารงานบุคคล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับสมัคร บุคลากรคณะฯเข้าร่วมโครงการฯ วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อให้ความรู้เรื่อง Excellent service mind แก่บุคลากรภายในคณะฯ ทุกระดับ เพื่อพัฒนาเทคนิคการทำงานด้านการบริการด้วยการบริการที่เป็นเลิศในระดับสากล เพื่อสร้าง Excellent service Champion and Potential Trainer ภายในคณะฯ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนออนไลน์ที่ https://w1.med.cmu.ac.th/medhri/courses/service-excellent/
ศูนย์บริหารกลยุทธ์และการพัฒนาบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้น 7 อาคารราชนครินทร์ เลขที่ 110 ถ.อินทวโรรส ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
0-5393-5226
hrdcenter.med@cmu.ac.th
จันทร์-ศุกร์: 8:30 AM – 04:30 PM
© Copyright 2012 - 2024 | MED CMU Human Resource Institute | All Rights Reserved |